- ให้สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า ขนาดด้านละ 100 หน่วย
- ให้สร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ขนาดด้านละ 50 หน่วย
- ให้สร้างรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า ขนาดด้านละ 150 หน่วย
- ให้สร้างรูปหกเดหลี่ยมด้านเท่า ขนาดด้านละ 90 หน่วย
วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2552
การนำคำสั่งไปใช้
เมื่อได้พื้นฐานคำสั่งโดยทั่วไปแล้ว ลองทำคำสั่งต่อไปนี้
คำสั่งโปรแกรมควบคุมเต่า
คำสั่งในการเดินหน้า
forward(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลข ใช้ตัวย่อว่า fd
example:fd 100
คำสั่งในการถอยหลัง
back(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลข ใช้ตัวย่อว่า bk
example:bk 100
คำสั่งในการเลี้ยวซ้าย
left(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลของศาในการเลี้ยว ใช้ตัวย่อว่า lt
example:lt 100
คำสั่งในการเลี้ยวขวา
right(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลของศาในการเลี้ยว ใช้ตัวย่อว่า rt
example:fd 100
คำสั่งในการล้างหน้าจอ
clearscreen ใช้ตัวย่อว่า cs
example:cs
ให้ทดสอบคำสั่งต่อไปนี้ แล้วสังเกตผลลัพท์
fd 100 rt 90 fd 100 lt 90 fd 100 rt 90 fd 100 lt 90
เคล็ดลับ:การต่อคำสั่งทำได้ด้วยการเว้นวรรค 1 ตัวอักษร แล้วตามด้วยคำสั่งต่อไป
forward(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลข ใช้ตัวย่อว่า fd
example:fd 100
คำสั่งในการถอยหลัง
back(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลข ใช้ตัวย่อว่า bk
example:bk 100
คำสั่งในการเลี้ยวซ้าย
left(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลของศาในการเลี้ยว ใช้ตัวย่อว่า lt
example:lt 100
คำสั่งในการเลี้ยวขวา
right(เว้นวรรค 1 ตัวอักษร)ใส่ตัวเลของศาในการเลี้ยว ใช้ตัวย่อว่า rt
example:fd 100
คำสั่งในการล้างหน้าจอ
clearscreen ใช้ตัวย่อว่า cs
example:cs
ให้ทดสอบคำสั่งต่อไปนี้ แล้วสังเกตผลลัพท์
fd 100 rt 90 fd 100 lt 90 fd 100 rt 90 fd 100 lt 90
เคล็ดลับ:การต่อคำสั่งทำได้ด้วยการเว้นวรรค 1 ตัวอักษร แล้วตามด้วยคำสั่งต่อไป
โปรแกรม FMS Logo

สามารถดาว์นโหลดโปรแกรมเพื่อนำไปศึกษา คลิกที่นี่
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมโลโกจะเห็นส่วนประกอบ 3 ส่วนรวมกันในหน้าต่างโปรแกรมโลโกดังนี้
- ส่วนที่ 1 มีชื่อเรียกว่าหนาต่างแสดงผล (Display window) เริ่มต้นจะมีภาพเต่าโลโกเป็นรูปสามเหลี่ยม ชี้ไปทางทิศเหนือ(คือด้านบนของจอภาพ) และเมื่อมีการสั่งให้เต่าทำงาน จะแสดงรอยทางเดินที่เต่าเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่กำหนด ด้วยความยาวขนาดต่าง ๆ
- ส่วนที่ 2 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงคำสั่ง (Commander window) คำสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทำงานเมื่อพิมพ์ลงไปแล้วจะปรากฏให้เห็นในหน้าต่างนี้ คำสั่งที่พิมพ์เข้าไปก่อนจะอยู่บรรทัดบน ส่วนคำสั่งที่พิมพ์ตามเข้าไปจะอยู่บรรทัดล่าง คำสั่งเหล่านี้สามารถเรียกกลับมาใช้งานได้อีก
- ส่วนที่ 3 มีชื่อเรียกว่าช่องป้อนเข้าข้อมูล (Input box) เป็นส่วนหนึ่งของหน้าต่างแสดงคำสั่ง เมื่อคลิกที่ช่องนี้จะปรากฏเครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) ทำให้สามารถพิมพ์คำสั่งลงไปได้ครั้งละ 1 บรรทัด เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้กดแป้น Enter เสมอ คำสั่งที่พิมพ์ลงไปจะไปปรากฏในหน้าต่างแสดงคำสั่ง (ส่วนที่ 2) และโปรแกรมจะทำการประมวลผล ในกรณีที่เป็นคำสั่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่จะทำให้เต่าในหน้าต่างที่ 1 เกิดการเคลื่อนไหวด้วย แต่ถ้าคำสั่งมีข้อผิดพลาดก็จะปรากฏข้อความที่เต่าไม่เข้าใจ (I don’t know how to …) ในหน้าต่างที่ 2 นี้
ขณะที่อยู่ในช่องป้อนเข้าข้อมูล ถ้ากดแป้นลูกศรขึ้น เคอร์เซอร์จะเข้าไปอยู่ในหน้าต่างแสดงคำสั่งด้านบน จึงสามารถเลือกคำสั่งเดิมให้ทำงานได้อีก (โดยคลิกที่ปุ่ม Execute)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)